เตรียมตัวทำบายพาสให้ปลอดภัย จาก 10ภาวะแทรกซ้อนอันตราย
การเตรียมตัวดีมีชัยเสมอ ไม่ว่าจะเป็นการผ่าตัด การตรวจด้วยกระบวนการต่างๆ หรือแม้กระทั่งการเจาะเลือดเพื่อตรวจก็ต้องเตรียมตัวทำใจด้วยกันทั้งนั้น ในเมื่อปัญหาการที่มีเส้นเลือดตีบไม่หมดไปจากเรา ลดอาหารก็ทำไม่ได้ ออกกำลังก็ไม่มีเวลา
มาค่ะ มาทำบายพาสนะคะ เลือดจะได้มีทางไปไม่ติดไม่ขัดเราเรียกแบบนี้ง่ายๆว่าตัดถนนใหม่
จากสถิติที่คนเป็นโรคหัวใจเพิ่มมากขึ้นทุกปี สถิติของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557 พบประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด จำนวน 58,681 คน หรือเฉลี่ยชั่วโมงละ 7 คน และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ การลดอาหารที่มีไขมัน ลดอาหารหวาน เพิ่มการออกกำลัง และอีกหลายต่อหลายอย่างที่ควรทำและไม่ควรทำ เราทุกคนต่างรู้และได้ยินกันดีอยู่แล้วว่า คนรอบตัวเสียชีวิตมากขึ้นๆด้วยโรคหัวใจ และหลายต่อหลายคนต้องรักษาด้วยการทำบายพาส
สาเหตุหลักๆมาจากอาหารที่ทานเข้าไป ดูพื้นฐานการทานอาหารของเราดู จะพอรู้แนวโน้มการเกิดโรคหัวใจในอนาคตได้แล้วค่ะ
การทำผ่าตัดบายพาส (Coronary Artery Bypass Grafting: CABG)
เริ่มต้นเมื่อเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจของคุณตีบตัน การเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจอย่างรุนแรงหรือเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือการเกิดอาการเจ็บหน้าอกเกิดขึ้น ถือเป็นข้อบ่งชี้ที่สำคัญในการทำบายพาส เนื่องจากการผ่าตัดต่อเส้นเลือดหัวใจเป็นวิธีเพิ่มปริมาณโลหิต และออกซิเจนไปเลี้ยงหัวใจ เพราะหลอดเลือดหัวใจเดิมตีบจากตะกรันไขมันหรือเรียกว่า “พล๊าคของผนังหลอดเลือด” การอุดตันจากลิ่มเลือดทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน การผ่าตัดต่อหลอดเลือดหัวใจช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันได้
ในส่วนของการทำผ่าตัดบายพาสนั้น แพทย์จะเลือกเอาเส้นเลือดดำหรือเส้นเลือดแดงที่ยังมีสภาพดีของหลอดเลือดดำที่ขาหรือหลอดเลือดแดงจากทรวงอกหรือปลายแขนมาตัดต่อ แพทย์จะเลือดูจากจุดที่มีปัญหาหรือจำนวนที่หลอดเลือดอุดตันว่ามีกี่แห่ง กว้างหรือยาว เล็กหรือใหญ่ขนาดไหน เหมาะที่จะทำบายพาสหรือไม่? เลือกให้เหมาะสมที่สุด
การผ่าตัดบายพาสจะทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้มากขึ้น ปริมาณเลือดที่ผ่านมากขึ้นจึงพาออกซิเจนไปได้มากขึ้น ซึ่งจะบรรเทาการขาดเลือด หัวใจจะทำงานได้ดีมากขึ้น ป้องกันภาวะหัวใจวายจากการมีตะกรัน และลิ่มเลือดอุดตันหรืออาจทำให้เกิด ภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจแข็งได้ และการผ่าตัดบายพาสที่นิยมทำคือ การผ่าตัดใหญ่เปิดช่องอกและแบบไม่ใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียม แพทย์จะเลือกให้ตามความเหมาะสมของแต่ละคน
การทำผ่าตัดบายพาสก็เหมือนการทำผ่าตัดทั่วไป อาจมีภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้
และมีอันตรายได้ด้วยเหมือนกันซึ่งเราควรรู้และหาทางป้องไว้ เช่น
1.เลือดออกหลังผ่าตัด
2.แผลผ่าตัดติดเชื้อ ซึ่งป้องกันด้วยการดูเรื่องความสะอาดในการทำแผลและดูแลแผล
3.หัวใจเต้นผิดปกติ และต้องให้ยาดูแลต่อเนื่องต่อไป
5.อัมพาต
6.กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
7.ปัญหาเกื่ยวกับสมองในส่วนของการเรียนรู้
8.โรคหลอดเลือดสมอง มีอาการทานอาหารลำบาก พูดลำบาก เดินหรือเคลื่อนไหวลำบาก
9.หัวใจขาดเลือด หัวใจวาย
10.เสียชีวิต
ภาวะแทรกซ้อน ในการทำบายพาสก็เป็นเรื่องสุดวิสัยไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น ทั้งทีมการรักษาและคนไข้คงต้องร่วมมือกัน อีกหนึ่งเรื่องสำคัญมากๆที่ต้องเตรียมคือ
เรื่องค่าใช้จ่าย เป็นตัวเลขที่หนักหนาอยู่ด้วย ค่าใช้จ่ายการทำบายพาสต่อครั้งมีมากเป็นหลักแสน แม้กระทั่งในโรงพยาบาลของรัฐก็ตั้งต้นด้วย 3 แสนปลายๆ ถ้าเป็นโรงพยาบาลเอกชนก็อาจอยู่ที่ 6-7 แสน ไหนจะต้องขาดงานขาดรายได้และเราต้องมีเงินไว้ใช้จ่ายระหว่างเจ็บป่วยอีก ขอถามอีกครั้งว่าเรื่องนี้เตรียมตัวดีหรือยัง!!
ถ้ายังไม่พร้อมเชิญทางนี้ค่ะ….ไม่มีอะไรที่จะประหยัดค่าใช้จ่ายเท่ากับการดูแลร่างกายตั้งแต่เนิ่นๆ เพราะ “การป้องกันย่อมดีกว่าการรักษา”
ทั้งการควบคุมอาหารผัด อาหารทอด อาหารมัน อาหารแปรรูป อาหารรสจัดเช่นรสหวาน การออกกำลังกาย เราต้องทำ ทำ ทำ ทำให้สม่ำเสมอ ถ้าทำเรื่องเหล่านี้ได้ เราก็จะมีร่างกายที่ปกติ แต่หากเราต้องการหาตัวช่วยในเอเจลฮาร์ท (AGEL HRT) มีสารอาหารสำคัญหลายตัวที่ทำให้เป็นทางป้องกันให้ร่างกายปกติ ควบคุมไขมัน ก็เท่ากับเราได้ช่วยในเรื่องการปรับระดับความดันให้สมดุล ป้องกันการเจ็บป่วยทำให้ไม่เป็นโรคหลอดเลือด ป้องกันการเกิดพล๊าคในหลอดเลือด
ส่วนประกอบสำคัญ ใน ผลิตภัณฑ์ HRT มีส่วนผสมจากผลวิจัยทางการแพทย์ ว่าช่วยบำรุงหัวใจและหลอดเลือด ถึง 7 อย่างใน 1 ซอง
1. L-CARNITINE : ช่วยเพิ่มพลังให้กับหัวใจ
2. TAURINE : เป็นกรดอะมิโนของหัวใจ
3. CoQ-10 : ช่วยในเรื่องความดันโลหิตสูงต่อต้านการเต้นผิดปกติของหัวใจ
4. FOLIC ACID : ปรับระดับโฮโมซิสเตอินให้เหมาะสม(ปกติ < 15, เหมาะสม < 8
mmol/l)
5. SELENIUM : ช่วยลดอัตราหัวใจล้มเหลว
6. POLICOSANAL : ช่วยลดคอเลสเตอรอลไขมันเลว
7. Oyster Mushroom : ช่วยลดไขมันในเลือด
ป้องกันก่อนที่จะต้องได้รับการรักษาด้วยการทำบายพาส….เรียกว่าบ๊าย บาย บายพาสกัน
เลยค่ะ