หัวใจเต้นน้อยลง (ช้าลง)

การนำไฟฟ้าในหัวใจที่ทำงานผิดปกติทำให้หัวใจเต้นน้อยลง (ช้าลง)

ปกติแล้วเวลาที่หัวใจทำงานจะต้องทำงานร่วมกับหลายๆส่วน ทั้งเยื่อหุ้มหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจ การทำงานของระบบการนำไฟฟ้าหัวใจ ซึ่งจะทำงานส่งต่อกันเป็นทอดๆ การนำไฟฟ้าหัวใจที่ปกติทำให้พลังผลักดัน สร้างจากไซโนเอเตรียลโนด (Sinaoatrial node) หรือเอสเอโนด (SA node) ของหัวใจแผ่ไปยัง (และกระตุ้น) กล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว การกระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจอย่างเป็นระเบียบนี้ทำให้หัวใจหดตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทำให้หัวใจสามารถสูบฉีดเลือดไปทั่วร่างกาย

ภาวะหัวใจเต้นน้อยลงหรือหัวใจเต้นช้าจะมีอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที

การเกิดความผิดปกติในระหว่างการส่งสัญญาณนี้ทำให้เกิดการนำไฟฟ้าผิดปกติ เกิดความล่าช้าและทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหดตัวช้ากว่าปกติ มีความไม่สม่ำเสมอ ก่อให้เกิดอันตรายต่อการไหลเวียนสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงในอวัยวะสำคัญต่างๆ 

หากไฟฟ้าลัดวงจรทำให้เกิดการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ ไม่ช้าไปก็เร็วเกินไป ภาวะหัวใจเต้นน้อยลงทำให้เสี่ยงต่อหัวใจล้มเหลวได้เหตุเพราะทำให้เลือดไหลไปเลี้ยงส่วนต่างๆได้ไม่ดีหรืออาจทำให้เกิดการอุดตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจได้

ความผิดปกติเกิดได้จากการเต้นผิดปกติของหัวใจเป็นได้หลายอย่าง เช่นกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติแต่กำเนิด ลิ้นหัวใจรั่ว ผนังหัวใจที่หนาผิดปกติ หลอดเลือดหัวใจตีบ หลอดเลือดอุดตัน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน ไทรอยด์เป็นพิษ เกลือแร่ในร่ากายไม่สมดุล แม้แต่ยาบางชนิดหรือชา กาแฟ น้ำอัดลมหรือความเครียดก็มีส่วนที่ทำให้เกิดความผิดปกติได้เช่นกัน

การถามประวัติหรือการตรวจละเอียดเกี่ยวกับการหาสาเหตุภาวะหัวใจเต้นน้อยลง หรือแม้กระทั่งการสังเกตุความผิดปกติต่างๆเช่นอาการเวียนศีรษะ หน้ามืดตาลาย ใจสั่น หายใจขัด เจ็บแน่นหน้าอก เป็นลม หมดสติ ชัก ความดันตก อาการเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทำให้เจอปัญหานี้ก่อน

ในส่วนการรักษาภาวะหัวใจเต้นน้อยลงก็ทำได้หลายวิธีเช่น การทานยา การใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจ การใช้ไฟฟ้ากระตุกหัวใจ การใช้สายสวนเพื่อจี้กล้ามเนื้อหัวใจ การฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจก็เป็นวิธีที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันแต่การป้องกันภาวะหัวใจเต้นน้อยลง ถือว่าเป็นวิธีที่ดีที่สุดคะ เพราะสามารถลดโอกาสการเกิดอาการให้น้อยลงได้เราจังควรใช้วิธีการป้องกันการเกิดภาวะหัวใจเต้นน้อยลงนี้จะดีกว่าคะ 

การตรวจเช็คร่างกายประจำปี การควบคุมดูแลรักษาโรคที่มีความเกี่ยงข้อง การทานอาหารที่มีประโยชน์ แม้กระทั่งการออกกำลังกาย สามารถลดโอกาสเสี่ยงในการเกิดภาวะหัวใจเต้นน้อยงนี้ได้อย่างดีที่สุด

เราสามารถควบคุมน้ำตาล เพิ่มความยืดหยุ่นให้หลอดเลือดได้ด้วยการทาน AGEL UMI

เราสมารถดูแลควบคุมไขมัน ความดันโลหิตสูง ฟื้นฟูหลอดเลือด ให้กำลังแก่กล้ามเนื้อหัวใจ ส่งประจุไฟฟ้าแก่หัวใจอย่างสม่ำเสมอได้ด้วยการทาน AGEL HRT

  • การออกกำลังกายเป็นประจำช่วยเพิ่มความกระฉับกระเฉงในตอนกลางวันแทนการดื่มชากาแฟ น้ำอัดลม และยังทำให้หลับสนิทในเวลากลางคืนคลายเครียดได้เป็นอย่างดี

อะไรก็ตามที่ทำให้หัวใจทำงานผิดปกติน่ากลัวทั้งนั้น เพราะนั่นหมายถึงการทำงานระบบต่างๆขอวร่างกายจะมีปัญหาเพราะเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆจะมีปัญหาไปด้วยค่ะ